ทฤษฎีการเรียนรู้
ที่
|
ทฤษฎี
|
แนวคิด
|
กุญแจสำคัญ
|
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
|
1
|
พาฟลอฟ
|
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
|
การตอบสนองจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
|
ก่อนการวางเงื่อนไข
เสียงระฆัง(cs) =
เฉยๆ
วิชาพละ
(ucs) =
ดีใจ (ucr)
ระหว่างวางเงื่อนไข
วิชาพละ
+ เสียงระฆัง = ดีใจ
หลังวางเงื่อนไข
เสียงระฆังท(cs) = ดีใจ (cr)
|
2
|
จอห์น
บี วัตสัน
|
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
|
Type
S
|
เหตุ
= ผล
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) = เฉยๆ
คุณครูดุ(ucs) = ไม่ชอบ(ucr)
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) + คุณครูดุ(ucs) = ไม่ชอบ(ucr)
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) = ไม่ชอบ(ucr)
การวางเงื่อนไข
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) = เด็กไม่ชอบ
ครูจัดกิจกรรม(ucs) =
เด็กชอบ (ucr)
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) + ครูจัดกิจกรรม (ucs) = เด็กชอบ
วิชาภาษาอังกฤษ(cs) = เด็กชอบ(cr)
|
3
|
ธอร์นไดด์
|
ทฤษฎีการสัมพันธ์เชื่อมโยง
|
การเรียนรู้มี
2
step
Step
ที่ 1 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหาอินทรีย์จะแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก
Step
ที่ 2 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหาเหมือนเดิมอีกครั้ง
อินทรีย์จะแก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูกเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
|
ครูให้เด็กต่อภาพสัตว์เพื่อแสดงพฤติกรรมลองผิดลองถูก
เด็กลองผิดลองถูกใช้เวลานานมากกว่าจะต่อเสร็จ เมื่อทำการทดลองครั้งที่ 2 เด็กสามารถต่อภาพสัตว์เร็วกว่าครั้งที่
1 ทดลองครั้งที่ 3 เด็กสามารถต่อภาพสัตว์เร็วกว่าที่
1 และ 2 ทดลองครั้งที่ 4 เด็กเกิดการเรียนรู้และจดจำสามารถต่อภาพสัตว์ได้อย่างรวดเร็ว
|
4
|
สกินเนอร์
|
การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ
|
การกระทำใดๆถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
ส่วนการกระทำที่ไม่ได้รับการเสริมแรงมีแนวโน้มที่การกระทำนั้นๆจะลดลงและค่อยๆหายไป
|
เด็กๆในห้องทำการกวาดห้องเรียนสะอาด
พอครูเข้ามาในห้องครูก็ชื่นชมเด็กๆพร้อมกับให้รางวัลแก่เด็กๆและหลังจากนั้นเด็กๆก็ทำความสะอาด
กวาดห้องเรียนทุกๆวัน
|
5
|
แบนดูรา
|
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพฤติกรรม
|
การเรียนรู้ของมนุษย์
ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวอยู่เสมอ
เป็นกระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา
|
นักเรียนคนหนึ่งกวาดและจัดห้องเรียนสะอาด
เรียบร้อย แล้วได้รับรางวัลจากครู
นักเรียนคนอื่นๆพยายามกวาดและจัดห้องทำความสะอาด
เพราะมีความคาดหวังว่าจะได้รางวัลด้วย ส่วนนักเรียนคนหนึ่งนำขนมมากินในห้องเรียนทำให้ห้องเรียนมีขยะ
จึงทำให้นักเรียนคนนั้นถูกทำโทษและเพื่อนๆก็ไม่ปฏิบัติตามนักเรียนคนนั้น
|
6
|
เกสตัลท์
|
เวอร์ไทเมอร์
โคลเลอร์ คอฟฟ์กา
เลวิน
|
การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิดจากประสบการณ์เดิมและการเยนรู้ย่อยเกิดขึ้น
2 ลักษณะ
1.การเรียนรู้
(Perception)
เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือ
ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
2.การหยั่งเห็น
(Insight)
การเกิดความคิดแวบขึ้นมามาทันทีทันใดในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้
|
ครูดาสอนเด็กๆเรื่องสัตว์ต่างๆที่เด็กๆรู้จัก
หลังจากนั้นครูดาจึงสอนเกี่ยวกับสัตว์ชนิดๆให้เด็กได้รู้จักมากยิ่งขึ้น
|
ทฤษฎีพัฒนาการ
ที่
|
ทฤษฎี
|
แนวคิด
|
กุญแจสำคัญ
|
ลำดับขั้น
|
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
|
|
1
|
ฟรอยด์
|
บุคลิกภาพ
|
พฤติกรรมของ-
ผู้ใหญ่จะดีหรือไม่ดี ให้ย้อนไปดูพฤติกรรมในวัยเด็กอายุ 0-6 ขวบ (Criticle period)
|
ขั้นความพึงพอใจมี
5 ขั้น
|
1. ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นหลัก
2. ครูไม่ควรแสดงความคิดเห็นในขณะที่เด็กทำกิจกรรม
เพราะจะทำให้เด็กขาดจินตนาการ
3. ครูควรจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตประจำวันของเด็ก
|
|
2
|
อีริคสัน
|
บุคลิกภาพ
|
การสร้างฐานแต่ละฐานให้แข็งแกร่งตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้าย
เปรียบเสมือนการสร้างบ้านที่จะต้องมีฐานที่แข็งแรงและมั่นคง
เพื่อที่จะได้บ้านที่สวยงามแข็งแรงและมั่นคง
|
พัฒนาการมี8 ขั้น
|
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กรู้จักเอกลักษณ์ของตนเอง
2. ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
3. ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับความใกล้ชิดผูกพันของคนใกล้ตัว
|
|
3
|
โรเบิร์ต
เจ
|
พัฒนาการตามวัย
|
งานพัฒนาการ
เป็นงานที่มนุษย์ทุกคนจะต้องทำในแต่ละวัยของชีวิต
สัมฤทธิ์พลของงานพัฒนาการแต่ละวัยมีความสำคัญมาก
เพราะจะเป็นรากฐานของการเรียนรู้งานพัฒนาขั้นต่อไป
|
พัฒนาการมี3
ระดับ 6 ขั้น
|
1. ครูควรจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับศีลธรรม จรรยา มารยาท
2. ครูควรให้รางวัลกับเด็กที่ทำความดีและทำโทษกับเด็กที่ทำความผิด
3. ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
|
|
4
|
โคเบิร์ก
|
จริยธรรม
|
การพัฒนาการจริยธรรมของเด็กและ-
ผู้ใหญ่ในแต่ละระดับขึ้นอยู่กับระดับในการวิเคราะห์
|
ลำดับขั้นพัฒนาการจริยธรรมมี
6 ขั้น
|
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กมีพฤติกรรมที่ถูก ที่ควรเกี่ยวกับระเบียบประเพณี
2. ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กมีพฤติกรรมที่ถูก ที่ควรเกี่ยวกับจริยธรรม
3. ครูจัดกิจกรรมให้เด็กแสดงความคิดและสินใจว่าพฤติกรรมใดถูกหรือผิด
|
|
5
|
เพียเจต์
|
สติปัญญา
|
เด็กจะเกิดการพัฒนาสติปัญญาได้ก็ต่อเมื่อมีการปฏิสัมพันธ์(Interaction)กับสิ่งแวดล้อม(Environment)
|
พัฒนาการมี
4 ขั้น
|
1.
นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกันนักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์
2 แบบคือ
- ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical
experiences)
- ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical
experiences)
2.
หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ
-
เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
-
เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่
- เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
-
เน้นกิจกรรมการสำรวจและการเพิ่มขยายความคิดในระหว่างการเรียนการสอน
3.
การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควรดำเนินการดังต่อไปนี้
-
ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงานพัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมหรือจากงานการอนุรักษ์
เพื่อดูว่านักเรียนคิดอย่างไร
-
ยอมรับความจริงที่ว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน
-
ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิ่มขึ้นในระดับความคิดขั้นต่อไป
-
ตระหนักว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจำมากกว่าที่จะเข้าใจ
เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง (pseudo learning)
|
|
6
|
บรูเนอร์
|
สติปัญญา
|
Discovery
learning การเรียนแบบสืบสวน
สอบสวน
|
พัฒนาการมี
3 ขั้น
|
1.
ผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจภายใน มีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว
2.
การจัดลำดับความยาก-ง่ายของบทเรียนโดยคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
3. การเสริมแรงของผู้เรียน
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น